ฮุปแต้มอีสาน, สิมอีสาน (Isan Mural Painting and Isan Temple Architectures)
 สิม หอไตร ฮูปแต้ม

(วางเมาส์บนรูปภาพ เพื่อดูส่วนขยายภาพ)

+ เพิ่ม | - ลด ขนาดตัวอักษร      

พระธาตุอิงฮัง หรือ พระธาตุอิงรัง แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว
      พระธาตุอิงฮัง หรือ พระธาตุอิงรัง ตั้งอยูที่บานหลวงโพนสิม ตาแสง (ตําบล) โพนสิม เมืองคันทะบุรีแขวงสะหวันนะเขต หางจากตัวเมืองคันทะบุรีราว 12 กิโลเมตร ตามถนนสายสะหวันนะเขต – เซโน (ทางหมายเลข 9) ตั้งอยูบริเวณลานกวางลอมรอบดวยดงใหญที่มีไมเต็งรังในรัศมีประมาณ 1 กิโลเมตร ตรงกลางเปนพระธาตุทรงสี่เหลี่ยมที่มีลวดลายวิจิตรพิสดาร
      พระธาตุอิงฮัง หรือ อิงรัง ตามตํานานที่ปรากฏใน “อุรังคนิทาน” (ตํานานพระธาตุพนม) กลาวถึงตอนที่พระพุทธเจาเสด็จมายังดอยกัปปนคีรี หรือ ภูกําพรา บริเวณที่สรางพระธาตุพนมฝั่งขวาแมน้ําโขงนั้น ไดประทับแรมอยูราตรีหนึ่งครั้นรุงเชาไดเสด็จไปประทับอิงตนรัง ที่ฝงซายแมน้ําโขงทอดพระ เนตรเมืองศรีโคตรบอง ดังความใน “อุรังคนิทาน” (ตํานานพระธาตุพนม) ตอนหนึ่งวา

      “...ครั้นแลว พระพุทธองคก็เสด็จมาทางอากาศลงประทับที่ดอยกัปปนคีรีคือวาภูกําพราในราตรีนั้น วิสสุกรรมเทวบุตรลงมาอุปฐากพระพุทธองคอยูจนตลอดรุง กาลนั้นพระพุทธองคทรงผาแลวเอาบาตรหอยไวที่หงาหมากทัน ไมปาแปงตนหนึ่งเบื้องทิศตะวันตก แลวเสด็จลงไปสูริมแมน้ําที่นั้นเพื่อชําระพระบาท บัณฑุกําพล ศิลาอาสนของพระยาอินทรก็กระดางแข็งพระยาอินทรเห็นเหตุดังนั้นก็เสด็จลงไปสูปาหิมพานตนําเอาน้ําแตสระอโนดาตพรอมดวยไมสีฟนมาถวายพระพุทธองคทรงชําระแลวก็ทรงบาตรผินพระพักตรสูทิศตะวันออก แลวก็เสด็จไปประทับอิงตน รังตนหนึ่งใตปากเซเล็กนอย ทอดพระเนตรเมืองศรีโคตรบอง เพื่อจะเสด็จเขาไปบิณฑบาตในพระนคร ครั้งนั้นพระยาเจาเมืองศรีโคตรบองนั้น ไดทรงบําเพ็ญบุญสมภารมาเปนอเนกประการ เหตุนี้จึงไดมาเสวยราชสมบัติบานเมืองในชมพูทวีปเปนครั้งที่ 3 เพื่อจักไดโชตนาพระพุทธศาสนา จึงไดชื่อวา พระยาติโคตรบูร...”

      พระธาตุอิง ฮัง จึงเปนปูชนียสถานศักดิ์สิทธิ์ของลาว เปนมิ่งขวัญของชาวสะหวันนะเขต มีงานบุญเฉลิมฉลองประจําประหวางเดือนธันวาคม พระธาตุองคนี้มีพุทธลักษณะงดงามมาก เปนที่สงวนรักษาไวซึ่งศิลปกรรมลาวสมัยโบราณเกือบครบถวน และเปนพระธาตุองคเดียวที่ทรงรูปรางเดิมอยูมิไดถูกทําลายแตประการใด

      ประวัติทางโบราณคดี (ตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 5 -18)
     พระธาตุอิงฮังเริ่มสรางขึ้นในสมัยอาณาจักรศรีโคตรตะบองเรืองอํานาจ ราวพุทธศตวรรษที่ 11 พระเจาสุมินทราช ราชาธิราชแหงอาณาจักรศรีโคตรตะบอง ไดวางรากฐานขึ้นตามเขตนี้เรียกในสมัยนั้นวา “อาณาจักรกระบอง”ตามชื่ออาณาจักรศรีโคตรตะบองแตโบราณ ถึงพุทธศตวรรษที่ 19 ใน พ.ศ.1892 พระยาฟางุมแหลงหลาธรณี มีพระราชอํานาจเหนือดินแดนลาวทั้งหมด ทรงรวบรวมแผนดินลาวเปนหนึ่งเดียว มีราชธานีที่อาณาจักรลานชางหลวงพระบาง แลวยกทัพมาปราบพระยาแปดบอ ผูครองอาณาจักรกระบองไดสําเร็จ จากนั้นไดแตงตั้งนองชายพระยาแปดบอปกครองเมืองแทนนับแตนั้น พระธาตุอิงฮังไดรับการดูแลจากเจาเมืองกระบองทุกๆ องคตลอดมา
      เรื่องราวของพระธาตุอิงฮังปรากฏชัดเจน ในประวัติศาสตรลาวอีกครั้ง ขึ้นในชวงสมัยรัชกาลสมเด็จพระโพธิสารราช และสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช โดยสมัยที่สมเด็จพระโพธิสารราช เสด็จลงมาประทับที่นครเวียงจันทนพ.ศ.2082 พระองคเสด็จลงไปนมัสการปูชนียสถานที่สําคัญในเขตเมืองกระบอง อันไดแก พระธาตุอิงฮัง พระธาตุศรีโคตรตะบอง พระธาตุพนมและพระธาตุโพน โดยพระองคไดมอบ “ขาโอกาส” ไวคอยดูแลรักษาพระธาตุทุกๆองคดวยพระธาตุอิงฮังถูกสรางตอเติมอีกครั้ง ในสมัยสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช หลังจากทรงสถาปนานครเวียงจันทนเปนราชธานีแทนหลวงพระบาง ตั้งแต พ.ศ.2103 แลว ทรงดัดแปลงพระธาตุอิงฮังใหเปนเจดียในพระพุทธศาสนา โดยสรางยอดเจดียตามแบบศิลปกรรมลาวโบราณแลวใหทําบุญเฉลิมฉลองใหญรวมทั้งไดมอบ “ขาโอกาส” ไวคอยดูแลรักษาองคพระธาตุดวย ครั้นสิ้นรัชกาลสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชแลว บรรดากษัตริยลานชางทุกพระองคก็ไดเอาพระทัยใสมาสักการะพระธาตุอิงฮัง พรอมทั้งบูรณะพระธาตุอิงฮัง โดยมิใหขาดพระราชประเพณีเลย
      จนกระทั่งถึง พ.ศ.2372 สมัยที่อาณาจักรลานชางถูกทําลายโดยกองทัพสยามทําใหพระธาตุขาดการดูแลรักษา ปราศจากการอุปถัมภค้ําชูจากผูปกครองลาว มีเพียงชาวบานในบริเวณใกลเคียงเทานั้น ที่ยังเคารพบูชา และถือเอาเปนสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ดั่งที่เคยปฏิบัติเชื่อถือกันมาตั้งแตโบราณ

      พระธาตุอิงฮังสมัย ปจจุบัน (พ.ศ.2436 – ถึงปจจุบัน)
      ในป พ.ศ.2436 ฝรั่งเศสเปนเจาอาณานิคมในอินโดจีน ไดเขามาครอบครองอาณาจักรลาวฝงซายของแมน้ําโขง รวมถึงสะหวันนะเขตดวย ในชวงที่ฝรั่งเศสเขาปกครองลาว เปนเหตุใหองคพระธาตุขาดการดูแลรักษา ถูกทอดทิ้งทําใหเปนสถานที่รกราง ขาดการอุปฏฐากรักษา ไมมีผูคนเขามาดูแลสักการะองคพระธาตุทําใหเครือไมตนโพธิ์ขึ้นปกคลุมเปนปา และมีตนไมเล็กตนไมใหญขึ้นเกาะจับองคพระธาตุ จนไมสามารถมองเห็นองคพระธาตุได
      จนกระทั่ง พ.ศ.2473 สํานักฝรั่งเศสแหงปลายบุรพทิศ ซึ่งมีศูนยกลางอยูที่เมืองฮานอยประเทศเวียดนาม สงนักโบราณคดีเขามาบูรณะปฏิสังขรณโบราณสถานทั่วราชอาณาจักรลาวรวมทั้งบูรณะองคพระธาตุอิงฮังเพียงเล็กนอย แตมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นตอศิลปกรรมที่องคพระธาตุ เชน รูปทวารบาลถูกเปลี่ยนใหมีลักษณะใกลเคียงรูปแบบเดิม สวนบานประตูพระธาตุซึ่งเปนประตูไมแกะสลักนั้น ถูกถอดไปเก็บรักษาไวที่หอพระแกว นครเวียงจันทนแตไดทําจําลองขึ้นใหมทดแทนใน พ.ศ. 2495
      บานประตูแกะสลักไมที่องคพระธาตุอิงฮัง มีความสูง 2.03 เมตร กวาง 1.60 เมตร อกเลากวาง 14 เซนติเมตร เปนงานประติมากรรมที่นาสนใจมาก นอกจากมีการลงรกัปดทองและประดับกระจกแลว ลวดลายที่ประดิษฐมีความงดงามผิดแผกที่อื่น โดยลายทั้งสองขางมีลักษณะไมซ้ํากัน มีความออนชอยเกี่ยวพันกันอยางนาดูในแบบลายกานขดลักษณะอกเลาเปนแบบบานประตูของไทย ผิดกับอกเลาของพระธาตุพนม ซึ่งเปนแบบเดียวกับศิลปะเขมร ขอบประตูมีลายสองขางไมเหมือนกันการจัดลายแสดงความรูสึกเคลื่อนไหวหมุน บงถึงความคิดสรางสรรคอยางอิสระของนายชางผูออกแบบ
      สิ่งที่นาทึ่งของบานประตูนี้ไดแกรูปสลักในชองเล็ก ๆ ขางละ 4 ชอง เปนภาพเชิงสังวาส (Erotic Art) จึงเปนที่สงสัยกันวา เหตุใดพุทธสถานเชนพระธาตุอิงฮังจึงมีรูปภาพแสดงเรื่องราวทางเพศ ซึ่งไมพบเห็นในพุทธสถานแหงใด มีคําอธิบายวา ภาพเชิงสังวาสนี้คลายภาพกามสูตรของอินเดีย ดังนี้

      “...ภาพแสดงเรื่องราวทางเพศนี้ ไมเคยพบพุทธสถานแหงใดมีภาพดังกลาวมากอนเลยทําใหนึกถึงภาพศิลาของอินเดียรอบโบสถ “กาลเทวี” และ “วิศวนาถ” ที่ ขะชูราโห (Khajurho)ซึ่งเปนภาพลีลาพิศวาสอันงดงามจาก “กามสูตร” ในพุทธศตวรรษที่ 16 อาจจะมีอิทธิพลสืบเนื่องกันมาใน “ศิลปะตันตระ” (Tantric Art)เพราะลัทธิตันตระเกิดขึ้นในอินเดียตั้งแตราว พ.ศ.1100 สําหรับ “พุทธตันตระ” ในลัทธิมหายาน มีความเจริญรุงเรืองในสมัยปาละ-เสนะ (Pala-Sena) พ.ศ.1293 – 1750 ซึ่งเต็มไปดวยเรื่องเวทมนตรคาถา ความลี้ลับ และกามกรีฑาเนนถึงการนับถือเทพี หรือเจาแม(ศักติ) เชน รูปแสดงเมถุนระหวางพุทธอมิตาภะกับนางดารา และอื่น ๆ ซึ่งการเผยแพรของลัทธิตันตระนี้เอง เปนสาเหตุใหพระพุทธศาสนาเสื่อมคลายไปจากอินเดียอันเปนดินแดนพุทธภูมิ…”
(สงวน รอดบุญ. 2533 : 154 – 155)


      ลักษณะของพระธาตุอิงฮัง
      พระธาตุอิงฮังมีขนาดความสูง 25 เมตร ฐานพระธาตุกวางดานละ 9 เมตร องคพระธาตุประกอบดวยฐาน 3 ชั้น ลดหลั่นกันเปนลําดับโดยฐานลางและฐานกลางเปนศิลปะดั้งเดิม (สมัยอาณาจักรศรีโคตรบองและอาณาจักรเขมร) สวนฐานบนและยอดสถูปเปนศิลปะสมัยลานชาง อันเปนสถาปตยกรรมทรงสูงแบบกออิฐถือปูนประดับกระจก ลายปูนปนประดับกระเบื้องลงยาทั่วองคพระธาตุ ทั้งนี้พระธาตุอิงฮังเปนปูชนียสถานอันเปนศรีสงาของลานชาง รูปลักษณะประดับประดาดวยองคประกอบทางพุทธศิลปซึ่งลวนมีความหมายตามนัยทางพุทธศาสนา โดยเฉพาะฐานองคพระธาตุที่ซอนกัน มีลักษณะเปนสถาปตยกรรมทรงสี่เหลี่ยมลดหลั่นกัน 3 ชั้น เปรียบเสมือนไตรภูมิทั้งสามแหง ชีวิตของชาวพุทธ คือ
      ฐานชั้นลางหมายถึงกาลภพคือ มนุษย
      ฐานชั้นกลาง หมายถึง รูปภพ คือเทวโลก
      ฐานชั้นบน หมายถึงอรูปภพคือพรหมโลก

      การยกฐานขึ้น 3 ชั้น มีจุดมุงหมายเพื่อ ตองการใหองคสถูปสูงเดนเปนสงา และเพื่อพุทธศาสนิกชนเห็นแตไกล พระธาตุทั้ง 4 ดาน มีประตูจัตุรมุขและมีประตูเขาออกที่องคพระธาตุได
      นับตั้งแตพ.ศ. 2492 หลังจากที่ประเทศลาวไดรับเอกราชแลว บรรดาขาราชการ ทหารตํารวจเมืองสะหวันนะเขต โดยมีเจาแขวงสะหวันนะเขตเปนประธาน พรอมดวยพอคา ประชาชนโดยไดรับการสนับสนุนจากรัฐบาล รวมกันบูรณะองคพระธาตุใหเปนสถานที่นาสนใจ โดยพัฒนาพื้นที่รอบองคพระธาตุใหกวางขวางออกไปกอสรางกําแพงระเบียงคด พรอมประตูเขาออกทงั้ 4 ดาน และกําหนดงานบุญเฉลิมฉลองพระธาตุขึ้นใหม คือระหวางเดือนกุมภาพันธ ของทุกปเพราะกําหนดเดิมคือเดือนพฤศจิกายน นั้น อยูในระยะเวลาเดียวกันกับงานบุญพระธาตุหลวงที่นครหลวงเวียงจันทนซึ่งถือเปนงานประจําปของชาติลาว ทั้งนี้สมเด็จพระเจามหาชีวิต หรือองคมกุฎราชกุมาร หรือผูที่ไดรับใหเปนที่ไววางพระราชหฤทัย (ตางพระเนตร พระกรรณ) จะเสด็จมาเปนองคประธานในงานบุญนมัสการพระธาตุอิงฮังตลอดมา

      พระธาตุทางทิศใต
      ฐานชั้นลางดานทิศใตของพระธาตุประกอบดวยซุมประตูกลาง มีลักษณะเปนลูกยื่นออกมาเปนซุมเรือนแกว มีเครื่องยอดทรงสูงทั้ง 3 ้น ลดหลั่นกันไป ซุมกลางของฐานชั้นแรกจะมีบานประตูทําลักษณะทึบ ลักษณะเหมือนอกเลา อันจะเห็นวามีประติมากรรมรูปทวารบาลอยูกลางประตูเหนือขอบประตูมีทับหลังเปนรูปครุฑจับนาค เหนือ ขึ้นไปของซุมประตูทําเปนประติมากรรมนูนสูง รูปพระพุทธนาคปรกดานขางทั้ง 2 ซุมประตูกลาง จะมีซุมเรือนแกวเปนลักษณะซุมจระนํา มีขนาดเล็กกวาซุมกลางแตละซุมจะมีเทวดาประจําทิศประดิษฐาน อันไดแก พระยม และพระหรดีที่มุมของฐานชั้นแรกดานบนจะทําเปนรูปกระจังบายศรีทั้ง 4 มุม
      ฐานชั้นกลางมุมของฐานชั้นบนทั้ง 4 ดาน เปนเสาเม็ดทรงเหลี่ยมประดับตกแตง ซึ่งฐานชั้นนี้ประกอบดวยซุมเรือนแกว อันเปนซุมทางคุนหิตหรือซุมกรอบพักตร กลางซุมประดิษฐานพระพุทธรูปปางหามญาติขนาดเทาพระปางหามญาติที่ประดิษฐาน ณ เมืองหลวงพระบาง ซึ่งเปนพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่ไดจากอาณาจักรเขมรและถือเปนพระคูบานคูเมืองของอาณาจักรลานชาง ลักษณะของซุมกลางเปนศิลปะเขมร อันมีสวนประกอบเปนทับหลังเหนือประตูและเสาประกอบประตูดวย นอกจากนี้ยังมีซุมเรือนแกวเปนรูปพระวิมานโดยมีนกหัสดีลิงคประทับนั่งบนดอกบัวบานทั้งสองขาง
      ฐานชั้นบนประกอบดวยซุมเรือนแกวเปนมุขเล็ก พรอมซุมพระวิมานขนาบทั้ง 2 ขาง สวนมุมของฐานชั้นนี้ประดับดวยกระจังบายศรีทั้ง 4 มุม ยอดบนเปนสถูปรูปทรงพระธาตุพนม ตกแตงดวยกระเบื้องเคลือบบนลายปูนปนรูปดอก ประดับประดาดวยกระจกสีลงยาอยางสวยงาม พรอมทั้งฉัตรประดับบนยอดสูงสุด

      พระธาตุทางทิศตะวันตก
      ฐานชั้นลางสรางเปนซุมมุขยื่นออกมา เปนลักษณะซุมเรือนแกว โดยมีประตูแบบอกเลา พรอมทั้งทวารบาลอยูกลางประตู เปนประติมากรรมปูนปน พรอมทั้งมีบริวารรับใชอยูดานลาง บนประตูมีทับหลังทําเปนรูปพระราหูอมจันทรประกอบดวยลายขดแบบคลื่นน้ํา เหนือทับหลังขึ้นไปมีประติมากรรมรูปพระจันทรและพระนางดาราประทับนั่งอยูบนพาหนะเปนมา สวนเทพประจําทิศนี้อยูในซุมเรือนแกวทั้ง 2 ดาน อันไดแก พระวรุณฐานชั้นกลางประกอบดวยซุมเรือนแกวประดิษฐานพระปางหามญาติโดยมีหมูพระวิมาน มีนกหัสดีลิงคนั่งอยูบนดอกบัวบานประทับอยู เชนเดียวกับพระธาตุทางดานทิศใตฐานชั้นบนและยอดสถูปมีลักษณะเชนเดียวกับพระธาตุทางดานทิศใต






      การเดินทาง
      พระธาตุอิงฮัง บานหลวงโพนสิมตาแสง (ตําบล) โพนสิม เมืองคันทะบุรี แขวงสะหวันนะเขต หางจากตัวเมืองคันทะบุรีราว 12 กิโลเมตร ตามถนนสายสะหวันนะเขต – เซโน (ทางหมายเลข 9) ข้ามแดนที่จังมุกดาหารโดยมีรถบัส มุกดาหาร-สะหวันนะเขต ข้ามไปฝั่งลาว เมื่อไปถึงจุดผ่านแดน รถจอดเพื่อปั้มเข้าประเทศลาว กลับขึ้นรถ รถจอดที่ บขส. สะหวันนะเขต สามารถนั่งสามล้อเครื่องไปได้ หรือรอรถสองแถวที่ถนน ไปลงที่ปากทางเข้าพระธาตุก็ได้ ฯ
      

      พระธาตุทางทิศเหนือ
      ฐานชั้นลางเปนซุมเรือนแกวมีมุขยื่นออกมา ที่บานประตูมีเทพปกปกรักษาทําเปนรูปพระฤษีตะไลโกศ (ฤษีหนาเนื้อ) นั่งบนเสือเหนือบานประตูทําเปนประติมากรรมนูนสูง รูปนรสิงหคาบนาค สวนที่ยอดของซุมประตูมีพระพุทธนาคปรก ประกอบดวยซุมเรือนแกวทั้ง 2 ขางของซุมกลางมีเทพรักษาประจําทิศ คือทาวเวสสุวรรณและพระอีสานเปนยักษประจําทิศเหนือ สวนฐานชั้นกลาง และชั้นบน ตลอดจนสถูปมีลักษณะเชนเดียวกับพระธาตุดานทิศตะวันตก

ถ่ายภาพเมื่อ : 15 ธันวาคม 2560
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง
พระธาตุอิงรัง พระธาตุอิงฮัง



      พระธาตุทางทิศตะวันออก
      เปนดานที่มีความสําคัญที่สุด อันประกอบดวยสี่เหลี่ยมลดหลั่นกัน 3 ชั้น เชนเดียวกับทิศอื่น แตสิ่งที่สําคัญโดยเฉพาะซุมประตูทิศนี้คือมีรูปทรงสูงแหลมลึกกวาทิศอื่นและปรากฏลวดลายจําหลักไมประดับซุมประตูแตกตางจากซุมอื่น ประกอบดวยลวดลายปูนปนประยุกตอาทิลายกาบไผ ลายนองสิงหและลายดอกลอย มีลักษณะเปนลายดอกจอกประดับดวยกระเบื้องลงยา พรอมทั้งปรากฏดานขดเปนรูปกินนร อันเปนลวดลายที่ปรากฏขึ้นในระยะหลังสิ่งที่โดดเดนอันเปนเสนหสําคัญขององคพระธาตุไดแก ลวดลายจําหลักที่ซุมประตูอัน ประกอบดวยลายบนจั่ว เปนลายรองประกน (จั่วประกนลูกฟก)
      พรอมทั้งมีลายประกอบที่ผูกเปนลายเกลียวคลื่นน้ํา สื่อความหมายใหเห็นความสําคัญและอิทธิพลของลําน้ําโขงอันเปนสายใยที่หลอเลี้ยงชีวิตอาณาจักรลานชางโครงสรางของลายจั่ว มีลักษณะเชนเดียวกับลวดลายของอาณาจักรลานนาเรียกวา ลายลองตาผา (หมายถึงการเย็บผาจีวรของพระที่ทําขึ้นเสมือนรูปแนวคันนา) ลักษณะจําหลักไมลงรักปดทองประดับกระจกลงยา ตรงกลางลายประดับจั่วจําหลักเปนรูปเทพพนมถือดอกไมโดยมีลายเกลียวคลื่นน้ําประกอบ อันเห็นไดวามีการผูกลายที่มีความประสานกลมกลืนกัน และมีการแบบลายดวยลายหนากระดานทําเปนรูปลายดอก 4 กลีบ ลายขอบประตูจําหลักนี้ ทําเปนลายคลื่นเกลียวน้ําประกอบกับลายเม็ดประคํากําหนดไวที่เกาะประตู

      สวนสําคัญที่สุดของบานประตูทิศนี้เปนงานประติมากรรมจําหลักไมประดิษฐลวดลายอันวิจิตรลงรักปดทองประดับกระจก เปนที่เลื่องลือในความงดงามอันออนชอย มีภาพจําหลักเรื่องเกี่ยวกับการเสพสังวาสที่ไมเคยพบในพุทธสถานลานชางแหงใด เปนที่ประหลาดใจแกผูพบเห็นสันนิษฐานวานี่คืออิทธิพลศิลปะตันตระอินเดียในพุทธศาสนาลัทธิมหายานนิกายตันตระ ที่ไดรับอิทธิพลจากฮินดู
      พุทธตันตระไดใชความพยายามอยางกลาหาญ ในการเชื่อมโยงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในโลกกับรางกายมนุษย โดยถือวาการปฏิบัติกามกิจเปนสัญลักษณแหงการเกิดโลก มหาสุขนั้นสถิตอยูในอวัยวะเพศหญิง ในการที่ไดรวมกับฝายหญิงจึงถือเปนมหาสุข เปนสภาวะอันประเสริฐสุด ปรากฏในเพศหญิงและชายจึงถือไดวาเปนพิธีแสดงถึงการหลุดพนอันไดประสบมาแลวโดยพระโพธิสัตวและคูครองของทาน นิกายตันตระนี้อันเต็มไปดวยเรื่องราวของเวทยมนต คาถา ความลี้ลับ และการเสพเมถุน ซึ่งแพรหลายเขามาในสมัยนั้น
      ปจจุบัน บานประตูพระธาตุอิงฮังองคจริง ไดนําไปเก็บรักษาไวในที่หอพิพิธภัณฑแหงชาติหอพระแกว กรุงเวียงจันทนในฐานะที่เปนงานประติมากรรมล้ําคาของชาตินับเปนเวลานาน ตราบที่พระพุทธศาสนายังเจริญรุงเรือง พระธาตุพนมและพระธาตุอิงฮัง ก็ยังเปนปูชนียสถานเปรียบเสมือนรมโพธิ์รมไทรของชาวลาวและไทยสองฝงโขงอยางมั่นคง

 Isan Upload
ภาพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง



สถานที่ตั้ง : พระธาตุอิงฮัง บานหลวงโพนสิมตาแสง แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว
พิกัด : 16.608910, 104.851199
ถ่ายภาพเมื่อ : 15 ธันวาคม 2560
วันติดตั้งหน้าเว็บ : 24 ธันวาคม 2560
จำนวนผู้เข้าชม : 2873 ครั้ง
แหล่งที่มาข้อมูล : วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ ปที่ 8 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - เมษายน 2550 : การวิจัยศิลปะลายลาวที่ปรากฏอยูที่พระธาตุ อิงฮัง แขวงสะหวันนะเขต : ผศ. สาธติ ทิมวัฒนบรรเทิง, ภูธิปนธิิศร  คงโภคานันทน, ทาวทอนเพชร ขุดตะวา
หมายเหตุ : เว็บมาสเตอร์เดินทางไปชมและถ่ายภาพเอง


24-12-2017 Views : 2874
      ร่วมกันสนับสนุนเว็บไซต์นี้ ทำได้ง่ายๆ ด้วยการคลิกลิงค์ด้านล่าง... ขอบคุณครับ


ออกแบบโลโก้ ออกแบบกล่อง ออกแบบถุง ออกแบบสิ่งพิมพ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ วาดเส้น จิตรกรรม Drawing  Painting รับทำ SEO, ปั่นเว็บ, หน้า 1, อันดับ 1 ฮูปแต้ม, สิมอีสาน, ฮูบแต้ม, ศิลปะอีสาน, สิม, โบสถ์, หอไตร, สถาปัตยกรรมอีสาน
9809/1 Anankanak Rd., Tambol Kalasin, Amphoe Muang, Kalasin Province 46000 Thailand
www.artnana.com

18.217.92.102 =    Saturday 20th April 2024
 IP : 18.217.92.102   คนที่กำลังอ่าน   Bookmark and Share   
Russia รัสเซีย  เรียนรัสเซีย  ภาษารัสเซีย ตุ๊กตารัสเซีย ของฝากรัสเซีย