สิม หอไตร ฮูปแต้ม



กู่พระโกนา กู่พระโกนา กู่พระโกนา กู่พระโกนา กู่พระโกนา กู่พระโกนา กู่พระโกนา กู่พระโกนา กู่พระโกนา กู่พระโกนา กู่พระโกนา กู่พระโกนา กู่พระโกนา กู่พระโกนา กู่พระโกนา กู่พระโกนา กู่พระโกนา กู่พระโกนา กู่พระโกนา กู่พระโกนา กู่พระโกนา กู่พระโกนา
  • กู่พระโกนา
  • กู่พระโกนา
  • กู่พระโกนา
  • กู่พระโกนา
  • กู่พระโกนา
  • กู่พระโกนา
  • กู่พระโกนา
  • กู่พระโกนา
  • กู่พระโกนา
  • กู่พระโกนา
  • กู่พระโกนา
  • กู่พระโกนา
  • กู่พระโกนา
  • กู่พระโกนา
  • กู่พระโกนา
  • กู่พระโกนา
  • กู่พระโกนา
  • กู่พระโกนา
  • กู่พระโกนา
  • กู่พระโกนา
  • กู่พระโกนา
  • กู่พระโกนา

ถ่ายภาพเมื่อ : 28 ธันวาคม 2558


ถ่ายภาพเมื่อ : 28 ธันวาคม 2558


ถ่ายภาพเมื่อ : 4 ธันวาคม 2559
ด้านหน้า ที่คนทั่วไปนิยมขึ้น ผ่านกำแพงแก้วเข้าไปข้างใน
ด้านข้างฝั่งทิศเหนือ แสดงให้เห็นถึง แนวกำแพงแก้วที่ยังสมบูรณ์อยู่
มุมทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
มุมทิศตะวันตก ปรางค์องค์นี้ยังอยู่ในสภาพสมบูรณ์ ไม่ถูกดัดแปลง
เปรียบเทียบ ปรางค์ทิศใต้และปรางค์องค์กลาง ซึ่งถูกดัดแปลงเมื่อปี พ.ศ. 2471
ปรางค์องค์กลาง ซึ่งถูกดัดแปลงเมื่อปี พ.ศ. 2471 ตามสมัยนิยม
ปรางค์ 3 องค์ ตั้งอยู่บนฐานเดียวกัน
ปรางค์องค์กลาง ซึ่งถูกดัดแปลงเมื่อปี พ.ศ. 2471
ปรางค์องค์ทิศใต้
ปรางค์องค์ทิศใต้
ก่ออาคารเพิ่มด้านหน้าปรางค์ทิศใต้
เจดีย์ น่าจะสร้างพร้อมๆ กันกับการดัดแปลงปรางค์องค์กลาง เป็นธาตุบรรจุกระดูกข้าหลวงพระศรีเกษ และญาแม่ซ่นทองแดง ญาพ่อบุญ สังขศิลา สร้างเมื่อ พ.ศ. 2479
ด้านหน้าทางขึ้นทิศตะวันออก มีประตูซุ้มและทับหลังให้เห็น
ก่ออาคารเพิ่มด้านหน้าปรางค์องค์กลาง ประดิษฐานรอยพระพุทธบาท ด้านหน้าซ้าย-ขวา นำเศียรพญานาค 7 เศียร มาประดิษฐานไว้ จากกรณีพบเศีียรพญานาค 7 เศียร นี้ ทำให้สันนิษฐานว่า น่าจะมีสะพานนาค เชื่อมต่ออกไปยังบาราย
เศียรพญานาค 7 เศียร
เศียรพญานาค 7 เศียร
การต่อเติมภายในบริเวณ
ห้องบรรณาลัย หันด้านไปทางทิศตะวันตก
เศียรพญานาค 7 เศียร ด้านข้างมีเหราคาบ
ปรางค์ด้านทิศใต้ ด้านข้างมัประตูหลอก
ประตูหลอก ปรางค์ด้านทิศใต้ การเรียงอิฐ
รายละเอียดประตูหลอก ปรางค์ด้านทิศใต้
ปรางค์ทิศเหนือ กลาง และใต้
ประตูหลอกปรางค์ทิศเหนือ พบทับหลังวางอยู่ที่พื้นดิน
รายละเอียดทับหลัง สันนิษฐานว่าเป็นนารายณ์ทรงครุฑ
ประตูหลอกปรางค์ทิศเหนือ ยังแกะไม่เสร็จ
ลายประตูปรางค์ทิศเหนือ ด้านทิศตะวันออก
ทับหลังและหน้าบันประตูปรางค์ทิศเหนือ ด้านทิศตะวันออก
รายละเอียดทับหลังและหน้าบัน
สร้างอาคารครอบปรางค์ทิศเหนือ
หน้าบันปรางค์ทิศใต้ ฝั่งประตูหลอกด้านทิศเหนือ
รายละเอียดประตูหลอก ปรางค์ทิศเหนือ
ลวดลายเสา ปรางค์ทิศเหนือ
ลูกมะหวด
ลูกมะหวดและเสานางเรียง
ทับหลังวางบนพื้นกั้นขอบดินใกล้ๆ ธาตุเก่า
ทับหลังทางขึ้นทิศตะวันออก
รูปร่างลักษณะคล้ายทับหลัง
ประตูหลอก วางอยู่บนพื้น
รายละเอียดประตูหลอก ปรางค์ทิศเหนือ
ทับหลัง วางอยู่ด้านหน้าบรรณาลัย
ด้านหน้าบรรณาลัย
ชิ้นส่วนปรางค์วางอยู่บนพื้น
พุทธไสยาสน์ น่าจะทำขึ้นภายหลัง
ลักษณะคล้ายยอดปรางค์
ชิ้นส่วนพญานาค 7 เศียร
ชิ้นส่วนฐานปรางค์
ชิ้นส่วนองค์ประกอบ คล้ายแท่นรองบาท
ลักษณะคล้าย ศิวลึงค์
พระพุทธเจ้าประทานพร น่าจะทำขึ้นมาภายหลัง
ชิ้นส่วนองค์ประกอบ นำมาก่อเป็นกำแพงแก้ว
หนุมาน น่าจะทำขึ้นมาภายหลัง
กำแพงแก้วฝั่งทิศตะวันตก
กำแพงแก้วฝั่งทิศตะวันตก
ชิ้นส่วนองค์ประกอบที่ถูกนำมาทำกำแพงแก้ว
ชิ้นส่วนองค์ประกอบ ที่นำมาทำกำแพงแก้ว
ชิ้นส่วนองค์ประกอบ กลีบขนุน
ทางขึ้นฝั่งทิศเหนือ
แนวกำแพงแก้วฝั่งทิศตะวันออก
ธาตเก่า
ประตูเก่า ประตูใหม่ ธาตุใหม่
หัวเสานางเรียง
ปรางค์จำลอง
ทางขึ้นด้านทิศตะวันออก
ธาตุเพิ่งสร้างขึ้นใหม่ๆ ประมาณปี 2559
พระอุโบสถ กำแพงแก้วซุ้มประตูจตุรมุข
ประตูวัดฝั่งทิศตะวันออก มองเห็นสระน้ำขนาดใหญ่
สระน้ำขนาดเล็ก
สระน้ำขนาดใหญ่

 Isan Upload


รวมภาพเก่าๆ ที่เกี่ยวข้องกับสถานที่



 ข่าวอัพเดท ข่าวสารอัพเดทสถานที่ :
กู่พระโกนาไปกู่กาสิงห์
วัดกู่พระโกนา ด้านตรงข้ามวัดมีทางแยกไปกู่กาสิงห์ ระยะทางอีก 18  กิโลเมตร

ข่าวทั้งหมด 1 ข่าว

 

 แผนผังกู่พระโกนา

กู่พระโกนา จ.ร้อยเอ็ด
   กู่พระโกนาประกอบด้วยปรางค์อิฐ 3 องค์ บนฐานศิลาทรายเรียงจากเหนือ – ใต้ทั้งหมดหันหน้าไปทาง ทิศตะวันออก มีกำแพงล้อม และซุ้มประตูเข้า – ออกทั้งปรางค์องค์ กลางถูกดัดแปลงเมื่อ พ.ศ. 2471 โดยการฉาบปูนทับ และก่อขึ้นเป็นชั้น ๆ แต่ละชั้นมีซุ้มพระทั้ง 4 ทิศ หน้าปรางค์องค์กลางชั้นล่างสร้างเป็นวิหาร พระพุทธบาท ประดับเศียรนาค 6 เศียร ของเดิมไว้ด้านหน้าส่วน ปรางค์อีก 2 องค์ ก็ได้รับการบูรณะจากทางวัด เช่นกัน แต่ไม่ถึงกับเปลี่ยนรูปทรงอย่างปรางค์องค์กลาง
   ปรางค์องค์กลางถูกดัดแปลงเมื่อ พ.ศ. 2471 โดยการฉาบปูนทับและก่อขึ้นเป็นชั้น ๆ แต่ละชั้นมีซุ้มพระทั้ง 4 ทิศ หน้าปรางค์องค์กลาง ชั้นล่าง สร้างเป็นวิหาร มีพระพุทธบาทประดับ เศียรนาค 6 เศียรของเดิมไว้ด้านหน้า ส่วนปรางค์ อีก 2 องค์ ก็ได้รับการบูรณะจากทางวัดเช่นกันแต่ไม่ถึงกับเปลี่ยนรูปทรงอย่างปรางค์องค์กลาง
    ปรางค์องค์ทิศเหนือ ทางวัดสร้างศาลาครอบ ภายในมีหน้าบันสลักรามายณะและประทับสลัก ภาพพระนารายณ์บรรทมสินธุ์อยู่ที่เดิมคือเหนือประตูทาง ด้านหน้า ส่วนทับหลังประตูด้านทิศตะวันตก หล่นอยู่บน พื้นเป็นรูปนารายณ์ทรงครุฑปรางค์องค์ทิศใต้ยังคงมีทับหลังของเดิมเหนือประตูหลอกด้านทิศเหนือเป็นภาพเทวดานั่งชันเข่า ในซื้อเรือนแก้วเหนือหน้ากาลนอกจากนี้
    ทางด้านหน้ายังมีทับหลังหล่นที่พื้นเป็นภาพพระอิศวรประทับนั่งบนหลังโคและมีเสานางเรียง วางอยู่ด้วย สันนิษฐานว่ากู่พระโกนาเดิมคงจะมีสะพานนาคและทาง เดินประทับเสานางเรียงทอดต่อจากซุ้มประตูหน้าไปยัง สระน้ำหรือบาราย ซึ่งอยู่ห่างออกไปประมาณ 300 เมตร จากรูปแบบลักษณะทางศิลปกรรมทั้งหมดของภาพสลัก และเสากรอบประตู ซึ่งเป็นศิลปะขอม ที่มีอายุในราว พ.ศ. 1560-1630 (แบบปาปวน) สันนิษฐานว่ากู่พระโกนาคงจะสร้างขึ้นในราว พุทธศตวรรษที่ 16
    กู่พระโกนา เป็นปราสาทอิฐ 3 หลัง ตั้งอยู่บนฐานศิลาแลงเดียวกัน เรียงกันในแนวทิศเหนือ-ใต้ หันหน้าไปทางทิศตะวันออก มีกำแพงศิลาแลงซึ่งมีซุ้มประตูทางเข้าหรือโคปุระประจำอยู่ทั้ง 4 ทิศ ปัจจุบันตัวโบราณสถานถูกดัดแปลงสภาพไปมาก โดยเฉพาะปรางค์องค์กลางถูกฉาบปูนทับและก่อขึ้นใหม่เป็นชั้นๆ แต่ละชั้นมีซุ้มพระพุทธรูปประดับอยู่ทั้ง 4 ทิศ ปรางค์องค์ทิศเหนือมีการสร้างกุฏิครอบทับ แต่ยังคงมีส่วนประกอบทางสถาปัตยกรรมเหลือ ได้แก่ หน้าบันสลักเรื่องรามายณะ ทับหลังเหนือกรอบประตูด้านหน้าสลักเป็นภาพพระนารายณ์บรรทมสินธุ์ ส่วนทับหลังด้านทิศตะวันตกหล่นลงบนพื้นนอกองค์ปรางค์ สลักเป็นภาพพระนารายณ์ทรงครุฑ ปรางค์องค์ทิศใต้ยังคงเหลือทับหลังติดอยู่ในที่เดิม 1 ชิ้นเหนือกรอบประตูหลอกด้านทิศเหนือ สลักเป็นรูปเทวดานั่งชันเข่าอยู่เหนือหน้าบัน จากรูปแบบศิลปกรรมที่ปรากฏอยู่บนทับหลังและหน้าบันเหล่านี้ จัดอยู่ในศิลปะขอมแบบบาปวน อายุราวพุทธศตวรรษที่ 16 ร่วมสมัยกับกู่กาสิงห์ ทั้งนี้กู่พระโกนาคงมีความสำคัญอย่างยิ่งในอดีต เนื่องจากสร้างเป็นกลุ่มปราสาทขนาดใหญ่์
    สรุปย่อๆ กู่พระโกนาประกอบด้วยปรางค์อิฐ 3 องค์ บนฐานศิลาทรายเรียงจากเหนือไปใต้ โดยหันหน้าไปทางทิศตะวันออก มีกำแพงล้อม และซุ้มประตูเข้า ออก
    1.ปรางค์องค์ทิศเหนือ ทางวัดสร้างศาลาครอบ ภายในมีทับหลังผูกลายแบบปาปวน ตรงกลางสลักภาพพระนารายณ์บรรทมสินธุ์และด้านบนสภาพสลักรามายณะ เหนือประตูทางด้านหน้าสภาพสมบูรณ์มาก และประตูหลอกด้านข้างเห้นร่องรอยการแกะสลักยังไม่เสร็จ
    2.ปรางค์องค์กลางมีการฉาบปูนทับและก่อขึ้นเป็นชั้น ๆ แต่ละชั้นมีซุ้มพระทั้ง 4 ทิศ หน้าปรางค์องค์กลางชั้นล่างสร้างเป็นวิหารพระพุทธบาท ประดับด้วยเศียรนาค 6 เศียรซึ่งเป้นของดั้งเดิมไว้ด้านหน้า ซ้าย-ขวา
    3.ปรางค์องค์ทิศใต้ ไม่ได้รับการบูรณะเหมือนองค์กลาง มีประตูหลอกทั้ง 4 ทิศ แกะลายประตุยังไม่สมบูรณ์ ฝั่งด้านหน้าเจาะลึกเข้าไปเป็นซุ้มพระพุทธรูป

    นอกจากนี้ ทางด้านหน้ายังมีทับหลังหล่นที่พื้นเป็นภาพพระอิศวรประทับนั่งบนหลังโคและมีเสานางเรียวางอยู่ด้วย สันนิษฐานว่ากู่พระโกนาเดิมคงจะมีสะพานนาคและทาง เดินประทับเสานางเรียงทอดต่อจากซุ้มประตูหน้าไปยังสระน้ำหรือบาราย ซึ่งอยู่ห่างออกไปประมาณ 300 เมตร

    ดังนั้นจากรูปแบบลักษณะทางศิลปกรรมทั้งหมดของภาพสลัก และเสากรอบประตูซึ่งเป็นศิลปะขอม ที่มีอายุในราว พ.ศ. 1560-1630 (แบบปาปวน) สันนิษฐานว่ากู่พระโกนาคงจะสร้างขึ้นในราว พุทธศตวรรษที่ 16

    หมายเหตุ : พระและชาวบ้าน ไม่อนุญาตให้กรมศิลปากร เข้าไปบูรณะ
   

สถานที่ตั้ง : วัดกู่พระโกนา บ้านกู่ หมู่ที่ 2 ต.สระคู อ.สุวรรณภูมิ จ.ร้อยเอ็ด
ถ่ายภาพเมื่อ : 1 มิย. 57, 28 ธค. 58, 4 ธค. 59
วันติดตั้งหน้าเว็บ : 7 เมษายน 2558
ปรับปรุงล่าสุด : 5 ธันวาคม 2559
จำนวนผู้เข้าชม : 3088 ครั้ง
หมายเหตุ : เว็บมาสเตอร์เดินทางไปชมและถ่ายภาพเองทุกสถานที่ ข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต


ออกแบบโลโก้ ออกแบบกล่อง ออกแบบถุง ออกแบบสิ่งพิมพ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ วาดเส้น จิตรกรรม Drawing  Painting รับทำ SEO, ปั่นเว็บ, หน้า 1, อันดับ 1 ฮูปแต้ม, สิมอีสาน, ฮูบแต้ม, ศิลปะอีสาน, สิม, โบสถ์, หอไตร, สถาปัตยกรรมอีสาน
9809/1 Anankanak Rd., Tambol Kalasin, Amphoe Muang, Kalasin Province 46000 Thailand
www.artnana.com

44.221.43.208 =    Tuesday 19th March 2024
 IP : 44.221.43.208   คนที่กำลังอ่าน   Bookmark and Share   
Russia รัสเซีย  เรียนรัสเซีย  ภาษารัสเซีย ตุ๊กตารัสเซีย ของฝากรัสเซีย