สิม หอไตร ฮูปแต้ม



พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ
  • พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ
  • พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ
  • พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ
  • พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ
  • พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ
  • แก่งกะเบา จ.มุกดาหาร
  • พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ
  • พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ
  • พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ
  • พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ
  • พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ
  • พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพฯ
 Isan Upload



    5. เรือครุฑเหินเห็จ (เรือครุฑเหิรเห็จ)
    ลำเดิมสร้างในรัชกาลที่ 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เป็นเรือรูปสัตว์พื้นดำ ยาว 13 วา 1 ศอก 1 คืบ กว้าง 4 ศอก ลึก 1 ศอก 10 นิ้ว กำลัง 5 ศอก 1 คืบ 11 นิ้ว แต่ได้ถูกระเบิดเสียหายในสมัยสงครามโลกครั้ง ที่ 2 พ.ศ. 2478 กรมศิลปากรได้เก็บหัวเรือ และท้ายเรือไว้ในพิพิธภัณฑ์ฯ เมื่อ พ.ศ. 2491 และสร้างขึ้นใหม่เมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2505 น้ำหนัก 7 ตัน กว้าง 1.59 เมตร ยาว 27.50 เมตร ลึก 0.59 เมตร กินน้ำลึก 0.32 เมตร ฝีพาย 38 คน นายท้าย 2 คน

    6. เรือกระบี่ปราบเมืองมาร เรือกระบี่ปราบเมืองมาร เป็นเรือพระราชพิธี ชนิดหนึ่ง หน้ามีลักษณะเหมือนรูปโขน ลำเดิมเป็นเรือพื้นดำ ยาว 13 วา 2 ศอก 1 คืบ กว้าง 4 ศอก ลึก 1 ศอก กำลัง 5 ศอก 4 นิ้ว ลำเดิมถูกระเบิดเสียหาย กรมศิลปากรเก็บหัวเรือท้ายเรือไว้ ในพิพิธภัณฑ์เมื่อปี พ.ศ. 2591
    ส่วนลำปัจจุบันสร้างใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2510 โดยใช้หัวเรือเดิมนำมาซ่อมแซม ช่างแกะสลักลวดลายทำงานประมาณ 12 เดือน ช่างรักทำงานประมาณ 4 เดือน ช่างเขียนทำงานประมาณ 6 เดือน ช่างปิดทองและประดับกระจกทำงานประมาณ 4 เดือน น้ำหนัก 5.62 ตัน ยาว 26.80 เมตร กว้าง 2.10 เมตร ลึก 0.51 เมตร กินน้ำลึก 0.25 เมตร ฝีพาย 36 นาย นายท้าย 2 นาย หัวเรือมีช่องสำ หรับติดตั้งปืนใหญ่ 1 กระบอก ขนาด 65 มม. เหนือช่องปืนและเป็นรูปขุนกระบี่สีขาว

    7.เรืออสุรวายุภักษ์
    เรืออสุรวายุภักษ์ เป็นเรือรูปสัตว์ในประเภทเรือเหล่าแสนยากร เป็นหนึ่งในเรือพระราชพิธีกระบวนพยุหยาตราชลมารค เรืออสุรวายุภักษ์ โขนเรือเป็นรูปครึ่งยักษ์ครึ่งนก มีส่วนบนเป็นยักษ์ ส่วนล่างเป็นนกองค์เป็นสีม่วง ลักษณะและขนาดของเรือใกล้เคียงกับเรืออสุรปักษี การแต่งกายของผู้ประจำเรือ นายลำนุ่งปูม สวมเสื้อเข้มขาบ โพกขลิบทอง ปัจจุบันเก็บรักษาที่โรงเรือท่าวาสุกรี

    8.เรือเอกไชยเหินหาว
    เรือเอกไชยเหินหาวเป็นเรือประเภทเรือเอกขัยในลำดับชั้นของเรือพระที่นั่งในกระบวนพยุหยาตราชลมารค ซึ่งเกือบเทียบเท่าเรือพระที่นั่งกิ่ง ทำหน้าที่เป็นเรือคู่ชักใช้นำหน้าหรือชักลากเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ คู่กับเรือเอกไชยหลาวทองหรือสำหรับชักลากเรือพระที่นั่ง ในกรณีที่ฝีพายไม่เพียงพอ



เส้นทาง
    พิพิธภัณฑ์ฯเรือพระราชพิธี ตั้งอยู่ที่ เชิงสะพานอรุณอมรินทร์ ถ.อรุณอมรินทร์ ศิริราช บางกอกน้อย กรุงเทพฯ เปิดทุกวัน เวลา 9.00-17.00 น. คนไทย 20 บ. ต่างชาติ 100 บ. สอบถามโทร. 0-2424-0004
    การเดินทาง : จากโรงพยาบาลศิริราช ตึกผู้ป่วยนอก เดินข้ามสะพานมา อยู่ฝั่งขวามือ

 ข่าวอัพเดท ข่าวสารอัพเดทสถานที่ :
ข่าวทั้งหมด 0 ข่าว

 
+ เพิ่ม | - ลด ขนาดตัวอักษร    


พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธีคนละฝั่งคลองกับสถานีรถไฟบางกอกน้อย
    พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี เป็นพิพิธภัณฑ์ที่ตั้งอยู่บริเวณปากคลองบางกอกน้อย เขตบางกอกน้อย ภายในพิพิธภัณฑ์ฯ จัดแสดงเรือพระราชพิธีสำคัญ 8 ลำ ได้แก่ เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ เรือพระที่นั่งอนันตนาคราช เรือพระที่นั่งอเนกชาติภุชงค์ เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9 เรือครุฑเหินเห็จ เรือกระบี่ปราบเมืองมาร เรืออสุรวายุภักษ์ และเรือเอกไชยเหินหาว
    นอกจากเรือพระที่นั่งและเรือต่าง ๆ ที่ใช้ในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคที่จัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑ์ฯ แล้ว ยังมีเครื่องประกอบและสิ่งของเครื่องใช้ในพระราชพิธีต่าง ๆ จัดแสดงอยู่ด้วย เช่น บัลลังก์บุษบก บัลลังก์กัญญา พายชนิดต่าง ๆ และเครื่องแต่งกายของเหล่าฝีพาย
    เดิมเป็นอู่หรือโรงเก็บเรือพระราชพิธี โดยมีสำนักพระราชวังและกองทัพเรือควบคุมดูแล เมื่อคราวสงครามโลกครั้งที่ 2 อู่และเรือพระราชพิธีบางส่วนถูกระเบิดได้รับความเสียหาย และอยู่ในสภาพทรุดโทรมต่อมาอีกหลายปี
    ในปี พ.ศ. 2490 สำนักพระราชวังและกองทัพเรือได้มอบหมายให้กรมศิลปากรบูรณะซ่อมแซมเรือพระที่นั่งและเรือเก่าที่ใช้ในพระราชพิธี ซึ่งล้วนแต่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ ความงดงามทางศิลปกรรม ในปี พ.ศ. 2517 กรมศิลปากรได้ขอขึ้นทะเบียนเรือพระที่นั่งต่าง ๆ ให้เป็นมรดกของชาติ พร้อมกับยกฐานะของอู่เรือหลวงขึ้นเป็น “พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี”


    1.เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์
    เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ เป็นหนึ่งในเรือพระที่นั่ง และพระราชพิธี กระบวนพยุหยาตราชลมารค เป็นเรือที่ถือว่ามีความสำคัญอย่างมาก เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์มีชื่อกล่าวถึงเป็นครั้งแรกในสมัยกรุงศรีอยุธยาต้นรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิราวปี พ.ศ. 2091[1] ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเรียกว่า "สุวรรณหงส์" ดังทราบได้จากบทเห่เรือของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ฯที่ว่า
    " สุวรรณหงส์ทรงพู่ห้อย        งามชดช้อยลอยหลังสินธุ์
    เพียงหงส์ทรงพรหมมินทร์        ลินลาศเลื่อนเตือนตาชม "
    ในหนังสือตำนานเรือรบไทยพระนิพนธ์สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงกล่าวไว้ว่า เรือศรีสุพรรณหงส์สร้างในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ตามจดหมายเหตุเมื่อปี พ.ศ. 2370 มีหมายรับสั่งให้จัด "เรือพระที่นั่งศรีสุพรรณหงส์" เป็นเรือทรงพระบรมธาตุที่ได้มาจากเวียงจันทน์ ในจดหมายเหตุในรัชกาลที่ 3 และรัชกาลที่ 4 เรียกชื่อเรือนี้ว่า "เรือศรีสุพรรณหงส์" เรือศรีสุพรรณหงส์ได้ชำรุดทรุดโทรมเรื่อยมา และได้รับการซ่อมแซมมาหลายครั้ง
    เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ลำปัจจุบัน เป็นเรือพระที่นั่งที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯให้ต่อขึ้นใหม่เพราะเรือพระที่นั่งศรีสุพรรณหงส์ลำเดิมผุพังเกินที่จะซ่อมได้ แต่มาเสร็จสมบูรณ์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และเปลี่ยนชื่อเป็นเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ มีพลตรีพระยาราชสงคราม (กร หงสกุล) เป็นนายช่าง ประกอบพิธีลงน้ำ เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ 2454

    2.เรือพระที่นั่งอนันตนาคราช
    เรือพระที่นั่งอนันตนาคราช เป็นเรือพระที่นั่งบัลลังก์ในกระบวนพยุหยาตราชลมารค สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ลำปัจจุบันมีการสร้างใหม่ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สำเร็จเมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2457 ลำเรือภายนอกทาสีเขียว ท้องเรือภายในทาสีแดง ยาว 42.95 เมตร กว้าง 2.95 เมตร ลึก 0.76 เมตร กินน้ำลึก 0.31 เมตร ฝีพาย 54 คน นายท้าย 2 คน นายเรือ 2 คน[1] คนถือธงท้าย 1 คน พลสัญญาณ 1 คน คนเห่เรือ 1 คน
    โขนเรือเป็น "พญาอนันตนาคราช" หรือนาค 7 เศียร โดยปกติจะใช้เป็นเรือพระที่นั่งรอง หรือเรือเชิญผ้าพระกฐิน หรือประดิษฐานบุษบกสำหรับพระพุทธรูปสำคัญ นับเป็นเรือพระที่นั่งที่มีความงดงามอีกลำหนึ่ง อนึ่ง เคยมีการพิมพ์รูปเรือพระที่นั่งอนันตนาคราชด้านหลังธนบัตร 20 บาท โดยจัดพิมพ์และใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2514 (ปัจจุบันเลิกพิมพ์แล้ว)

    3.เรือพระที่นั่งอเนกชาติภุชงค์
    เรือพระที่นั่งอเนกชาติภุชงค์ เป็นเรือพระที่นั่งรอง ในกระบวนพยุหยาตราชลมารค ลักษณะเด่นคือมีโขนเรือเชิดเรียว ไม่ได้สร้างเป็นรูปสัตว์ในตำนาน แต่จำหลักและปิดทองเป็นรูปพญานาคจำนวนมาก จึงได้ชื่อว่า อเนกชาติภุชงค์ (อเนก หมายถึง จำนวนมาก, ชาติภุชงค์ หมายถึง พญานาค)
    เรือพระที่นั่งอเนกชาติภุชงค์ สร้างขึ้นใหม่ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ก่อนหน้านี้ไม่ปรากฏชื่อเรือพระที่นั่งลำนี้ จัดเป็นเรือพระที่นั่งศรี ในลำดับชั้นรอง ใช้ในการเสด็จพระราชดำเนินลำลอง ภายหลังนำเข้ากระบวนพยุหยาตราชลมารค เรียกว่า เรือพระที่นั่งรอง นับเป็นเรือพระที่นั่งลำเดียวที่สร้างขึ้นในรัชกาลที่ 5
    โขนเรือจำหลักปิดทองเป็นรูปพญานาคเล็ก ๆ จำนวนมาก ลำเรือภายนอกทาสีชมพู ท้องเรือภายในทาสีแดง ยาว 45.50 เมตร กว้าง 3.15 เมตร ลึก 1.11 เมตร กินน้ำลึก .46 เมตร กำลัง 3.50 เมตร ใช้ฝีพาย 61 คน นายท้าย 2 คน นายเรือ 2 คน คน ถือธงท้าย 1 คน พลสัญญาณ 1 คน คนเห่ 1 คน

    4.เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ
    เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9 เป็นเรือพระที่นั่งกิ่งประเภทเรือรูปสัตว์ หนึ่งในเรือพระราชพิธี ในกระบวนพยุหยาตราชลมารค จัดสร้างขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองในวโรกาส พระราชพิธีกาญจนาภิเษก แห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2539 โดย กองทัพเรือ ร่วมกับ กรมศิลปากร ได้นำ โขนเรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ ที่สร้างขึ้น ในสมัยรัชกาลที่ 3 และ รัชกาลที่ 4 มาเป็นต้นแบบ โดยกองทัพเรือ สร้างในส่วนที่เป็นโครงสร้างเรือ พาย และคัดฉาก ส่วนกรมศิลปากร ดำเนินการในงานที่เกี่ยวกับ ศิลปกรรมของเรือทั้งหมด

สถานที่ตั้ง : พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี ถ.อรุณอัมรินทร์ กรุงเทพมหานคร
ถ่ายภาพเมื่อ : 6 สิงหาคม 2555
วันติดตั้งหน้าเว็บ : 24 กันยายน 2559
จำนวนผู้เข้าชม : 3434 ครั้ง
หมายเหตุ : เว็บมาสเตอร์เดินทางไปชมและถ่ายภาพเอง : ข้อมูลจาก : วิกิพีเดีย




ออกแบบโลโก้ ออกแบบกล่อง ออกแบบถุง ออกแบบสิ่งพิมพ์ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ วาดเส้น จิตรกรรม Drawing  Painting รับทำ SEO, ปั่นเว็บ, หน้า 1, อันดับ 1 ฮูปแต้ม, สิมอีสาน, ฮูบแต้ม, ศิลปะอีสาน, สิม, โบสถ์, หอไตร, สถาปัตยกรรมอีสาน
9809/1 Anankanak Rd., Tambol Kalasin, Amphoe Muang, Kalasin Province 46000 Thailand
www.artnana.com

54.172.169.199 =    Tuesday 19th March 2024
 IP : 54.172.169.199   คนที่กำลังอ่าน   Bookmark and Share   
Russia รัสเซีย  เรียนรัสเซีย  ภาษารัสเซีย ตุ๊กตารัสเซีย ของฝากรัสเซีย